ปรัชญา  : " การศึกษาเพื่อความเป็นเลิศและความสามัคคีในวิศวกรรมศาสตร์เฉพาะทาง "

เกี่ยวกับคุกกี้บนเว็บไซต์นี้
เกี่ยวกับคุกกี้บนเว็บไซต์นี้

เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้เพื่อให้แน่ใจว่าได้รับประสบการณ์ที่ดีที่สุด การใช้เว็บไซต์นี้ต่อไปแสดงว่าคุณยอมรับการใช้งานเว็บไซต์นี้ เรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับนโยบายความเป็นส่วนตัวของเรา

ร่วมใจประหยัดพลังงาน
คณะวิศวฯ เชิญชวนทุกส่วนงานร่วมกันประหยัดพลังงาน

          โรงเรียนอาชีพช่างกล   (พ.ศ.2475 - 2477)

        สถาบันเทคดนโลยีปทุมวัน (ช่างกลปทุมวัน) เป็นโรงเรียนช่างกลแห่งแรกของประเทศไทย  ที่จัดตั้งโดยนาวาเอกพระประกอบกลกิจ (เจ๋อ จันทรเวคิน) และคณะทหารเรือ ณ ปัจจุบันเป็นสถาบันในระดับอุดมศึกษา ที่จัดการศึกษาระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษา  ในคณะวิศวกรรมศาสตร์ .และคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลี  ซึ่งเป็นการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง จากอดีตสู่ปัจจุบันดังต่อไปนี้  

        ในปี พ.ศ. 2467  ผลกระทบหลังสงครามโลกครั้งที่ 1  ทำให้เกิดภาวะ เศรษฐกิจถดถอยกระจายทั่วโลก ส่งผลให้เงินงบประมาณในการบริหารประเทศไทย ขาดแคลน จนต้องมีการแก้ไขปัญหา ด้วยการลดจำนวนข้าราชการและยุบ หรือ
ควบรวมหน่วยงานราชการให้ลดน้อยลง ในส่วนของทางกองทัพเรือ ก็ต้องงดรับ นักเรียนนายเรือ ทั้งพรรคนาวินและพรรคกลิน

      ในปี พ.ศ. 2471 กองทัพเรือ ถึงได้เปิดรับนักเรียนนายเรือ เฉพาะพรรคนาวิน เท่านั้น จนกระทั่งถึงปี พ.ศ. 2473  กองทัพเรือ ก็ยังไม่มีนโยบายที่จะเปิดรับนักเรียน นายเรือพรรคกลินอีกเลย

      นาวาเอกพระประกอบกลกิจ  ซึ่งดำารงตาแหน่งอาจารย์ใหญ่ โรงเรียน นายเรือแผนกพรรคกลิน มีความรู ้สึกห่วงใย เรื่องวิชาช่างกล ของคนไทยจะไม่เจริญก้าวหน้าต่อไปในกาลข้างหน้า คนที่มีความรู ้วิชาช่างกลของคนไทยย่อมร่อยหรอ
ทีละน้อย ๆ เพราะการเรียนฝ่ายช่างกล ในเวลานั้นยังไม่มีโรงเรียนสอน วิชาช่างกลแบบนี้ในที่อื่นใด มีแต่สอนอยู ่ในระดับวิศวกรรม (นายช่าง) ของ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ท่านจึงมีแนวคิดที่จะจัดตั้งโรงเรียนช่างกล
ด้วยจุดประสงค์เพื่อต้องการสร้างช่างฝีมือขึ้นมาทำงานรับช่วงจากวิศวกร และปลูกฝังสนับสนุนอาชีพช่างกลให้กับเยาวชนไทย เพื่อเป็นกำลังในการพัฒนา ประเทศสืบต่อไป 
ท่านจึงได้นำแนวความคิดนี้ ปรึกษาหารือกับ เรือเอกทิพย์ ประสานสุข ร.น. และพลเรือตรีสงบ จรูญพร ร.น. ที่เคยเป็นลูกศิษย์ของท่าน จนได้ผลสรุปตาม แนวทางนั้น ท่าน (นาวาเอกพระประกอบกลกิจ)  จึงออกหนังสือเวียน เพื่อขอความร่วมมือ
เรี่ยไรเงินจากบรรดาทหารเรือคนละ 100 บาท โดยเก็บเป็น รายเดือน ๆ ละ 5 บาท พร้อมทั้งออกปากชักชวน เพื่อน ๆ ทหารเข้าร่วมด้วย โดยมี ทหารเรือผู้ร่วมอุดมการณ์ในครั้งนั้นจำนวน 111 ท่าน 
หลังจากนั้น ท่านจึงไปเช่าอาคาร เลขที่ 18 ของพระคลังข้างที่ (สำนักงานทรัพย์สิน ส่วนพระมหากษัตริย์) เป็นอาคาร 2 ชั้น ในตรอกกัปตันบุช (ปัจจุบันคือ ซอยเจริญกรุง 70) ถนนเจริญกรุง แขวงสี่พระยา เขตบางรัก กทม.
(บริเวณปัจจุบัน เป็นส่วนสวนข้างอาคารบ้านเลขที่ 1)  โดยชั้นบนใช้เป็นห้องทำงานของครูและห้องเรียนทฤษฎี ส่วนชั้นล่างเป็นโรงที่ฝึกงาน และได้เปิดทำการเรียนการสอน ครั้งแรกใน วันจันทร์ที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2475 (แรม 15 ค่ำ เดือน 8 ปีวอก) โดย ใช้ชื่อว่า โรงเรียนอาชีพช่างกล เป็นโรงเรียนช่างกลแห่งแรกของประเทศไทย (First of Engineering School) 

      โดยมี นาวาเอกพระประกอบกลกิจ ร.น. เป็นผู ้อำนวยการ, เรือเอกหลวงสุรภัฎพิศิษฐ์ ร.น. เป็นอาจารย์ใหญ่, เรือเอกสงวน คงศิริ ร.น. เป็นอาจารย์ผู ้ปกครอง, เรือโทสมบุญ กายะสุต ร.น. สอนวิชาช่างทั่วไป และการฝึกหัดงาน มีครูช่วยสอน 3 ท่าน คือ นายไจ้จิ๋ว สุขชื่น, นายตึ๋ง อินทรสะอาด, นายเลื่อน กาญจนเสถียร ใช้หลักสูตรการสอนของ โรงเรียนนายเรือ แผนกพรรคกลิน มีวิชาที่เปิดสอน คือ ตีเหล็ก, ตะไบ, บัดกรีและประสาน, ช่างปรับ, ช่างยนต์, ช่างไฟฟ้า, ช่างกลึง, ช่างหล่อ, ช่างเดิน เครื่องจักร, ช่างออกแบบและคณิตศาสตร์ โดยใช้เวลา ช่วงเช้าเป็นเรียนการสอนภาคทฤษฎี ส่วนช่วงบ่ายเป็น ภาคฝึกปฏิบัติ เพื่อฝึกฝนให้นักเรียนมีความชำนาญ มีความอดทนและไม่กลัวต่อคราบความสกปรก เลอะเทอะของอาชีพช่างกล เป็นช่างกลที่ดีในอนาคต ตลอดจนปลูกฝังระเบียบวินัย ความรักสามัคคี ระหว่างพี ่, เพื่อนและน้อง ตามแบบระบบของทหารเรือ โดยมีกองทัพเรือให้การสนับสนุนและอุปการะให้ นักเรียน ไปฝึกงานภาคปฏิบัติที่กรมอู ่ทหารเรือและ ที่โรงงานของโรงเรียนนายเรือฝ่ายพรรคกลิน

การรับนักเรียน   รับผู้ที่มีความรู ้ไม่ต่ากว่าชั้นประถมปีที่ ๓ หรือเทียบเท่า เข้าเรียนหลักสูตร 2 ปี โดยที่ยังไม่มีการเก็บค่าเล่าเรียน เมื่อเรียนจบทางโรงเรียนจะออกเมื่อเรียนจบ ทางโรงเรียนจะออกใบรับรองความรู้ให้ มีนักเรียนรุ่นแรกจำนวน 34 นาย

พ.ศ. 2477  โรงเรียนอาชีพช่างกลได้ย้ายมาอยู ่ที่อาคารแผนกการพิมพ์ กรมแผนที่ทหารบก ติดท่าเรือราชินีเหนือ ซอยท่าข้าม ถนนมหาราช ตำบลท่าเตียน (ปัจจุบัน คือ แขวงพระบรมมหาราชวัง) อำเภอชนะสงคราม (เขตพระนคร) จังหวัดพระนคร มลฑลกรุงเทพฯ ปัจจุบัน คือ บริเวณที่ตั้งอาคารเสาวภาผ่องศรีภายใน โรงเรียนราชินีล่าง เพราะที่นี่เป็นสถานที่ที่กว้างกว่าที่เดิมใกล้ท่าน อำสะดวกแก่ การเดินทางข้ามไปฝึกงานที่กรมอู ่ทหารเรือ หรือยืมเรือกลไฟจากกองเรือกลทหารเรือ
มาให้นักเรียนฝึกหัด ทั้งสะดวกในการขอความอนุเคราะห์นายทหารเรือให้มาช่วยสอน ทฤษฎีช่างในบางโอกาส

ลักษณะโรงเรียนเป็นอาคาร 2 ชั้น มีรั้วสังกะสีกั้นเขตกับโรงเรียนราชินีล่าง ชั้นบนใช้เป็นห้องทำ งานของครูและห้องเรียนทฤษฎี 1 ห้อง ชั้นล่างเป็นโรงฝึกงานช่างกลึง ช่างตะไบและช่างยนต์ การเรียนทฤษฎีและภาคปฏิบัติต้องผลัดกันเรียน ระหว่างนักเรียนชั้น ปี 1 และชั้น ปี 2 การฝึกภาคปฏิบัติส่วนหนึ่งต้องไปอาศัยฝึก ที่กรมอู่ทหารเรือ หรือโรงฝึกงานของโรงเรียนนายเรือ ธรรมการเห็นความสำคัญและคิดจัดตั้ง แต่การจะจัดตั้งโรงเรียนช่างกล ไม่ใช่เรื ่องง่าย ด้วยเรื่องการจัดหาครูอาจารย์
ที่มีความรู ้ความชำนาญได้ยาก จึงได้ ติดต่อขอโอนโรงเรียนอาชีพช่างกลของพระประกอบกลกิจให้ย้ายมาสังกัดกระทรวง ธรรมการ

 

1 กรกฎำคม พ.ศ. 2478  โรงเรียนอาชีพช่างกล โอนมาสังกัดกระทรวง ธรรมการ เปลี่ยนชื่อเป็น “โรงเรียนมัธยมอำชีพช่ำงกล” รับนักเรียนที่สำเร็จชั้น มัธยมปีที่ ๔ อายุ 15 - 18 ปี หลักสูตรการเรียน 2 ปี ไม่เก็บค่าเล่าเรียน สอนวิชา ช่างกลพื้นฐาน คือ ช่างตะไบ, ช่างตีเหล็ก, ช่างบัดกรีและช่างฟิตปรับ วิชำช่ำงกลหลัก คือ ช่างกลโรงงาน, ช่างเครื่องยนต์, ช่างไฟฟ้า, เครื่องจักรไอน้ำ, วิชาเขียนแบบช่าง ช่างกล ประกอบด้วยวิชาสามัญ คือ คณิตศาสตร์, กลศาสตร์, ภาษาไทย, ภาษาอังกฤษ
และพลศึกษา

ปีกำรศึกษำ 2480   เปลี่ยนระเบียบรับนักเรียนที่จบชั้นมัธยมปีที่ 6 และ เปลี่ยนหลักสูตรการศึกษาเป็น 3 ปี เรียนจบแล้วได้วุฒิการศึกษา ประกาศนียบัตร มัธยมอาชีวศึกษาตอนปลาย

ปีกำรศึกษำ 2481   เริ่มเก็บค่ำเล่ำเรียนปีละ 20 บำท

 

โรงเรียนช่างกลปทุมวัน (Pathumwan Engineering School) พ. ศ. 2482 -2516

ตราสัญลักษณ์ : โรงเรียนช่างกลปทุมวัน รูปเฟือง ที่อยู่หลังรูป เสมำธรรมจักร มีอักษรคำว่า ” โรงเรียนช่ำงกลปทุมวัน ”  อยู่ภายในวงเฟืองใต้ฐานเสมาธรรมจักร 
เฟือง : แสดงความหมายถึง การเรียนเกี่ยวกับวิชาช่างกล เสมำธรรมจักร แสดงความหมายถึง โรงเรียนในสังกัดกระทรวง ศึกษาธิการ และ ชื่อโรงเรียน

        demo contents1

        วิทยาลัยช่างกลปทุมวัน ได้ยกฐานะสถานันการศึกษาตามพระราชบัญญัติการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรีในสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน  พ.ศ. 2541 สังกัดกรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
และเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2547 สถาบัน  ได้ปรับเปลี่ยนสถานะเป็นนิติบุคคลตามพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน เป็นส่วนราชการ ในสังกัดสำนักงานคณะการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
นับตั้งแต่ดำเนินการเปิดสอนมา คณะวิศวกรรมศาสตร์ได้ขยายการเรียนการสอนไปในสาขาวิชาต่างๆ เพิ่มขึ้น โดยยึดถือ นโยบายการผลิตวิศวกร ที่มีความรู้ ความเข้าใจในหลักวิศวกรรมศาสตร์พื้นฐาน และ
ทักษะในเชิงปฏิบัติสามารถนำทฤษฎีไปประยุกต์ใช้ เพื่อแก้ปัญหาทางวิศวกรรมได้อย่างมีประสิทธิผล อีกที้งมีโครงการความร่วมมือทางวิชาการกับหน่วยงานภายในและภายนอกประเทศ เพื่อส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพในการจัดการศึกษา
ของคณะอีกด้วย

  ปัจจุบันคณะวิศวกรรมศาสตร์ เปิดทำการเรียนการสอน ทั้งหมด 12 หลักสูตร โดยมีหลักสูตรวิชาชีพ 12 หลักสูตร เป็นหลักสูตรที่พัฒนาเป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ  12 หลักสูตร
โดยแบ่งเป็นระดับปริญญาตรี 8 หลักสูตร   ระดับปริญญาโท 3 หลักสูตร    ระดับปริญญาเอก  3 หลักสูตร

ปริญญาตรี 

 -วิศวกรรมไฟฟ้า
- พลังงานไฟฟ้าอัจฉริยะ
- ไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์
- ;วิศวกรรมเครือ่งกล
-  วิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์
- ;วิศวกรรมการผลิต
-  วิศวกรรมการผลิต
- วิศวกรรมอุตสาหาการ
- วิศวกรรมกระบวนการเคมีและสิ่งแวดล้อม
- วิศวกรรมเกษตรอัจฉริยะ
- วิศวกรรมยานยนต์ไฟฟ้า
- วิศวกรรมบูรณาการ

ระดับบัณฑิตศึกษา  ปริญญาโท - ปริญญาเอก
- วิศวกรรมไฟฟ้า    
    แผน ก.   และ  แผน ข.
- เทคโนโลยีการผลิตขั้นสูง
- วิศวกรรมกระบวนการเคมีและสิ่งแวดล้อม


 

ติดต่อเราเบอร์ภายใน

  • หัวหน้าสำนักงานคณบดี : 3080
  • วิชาการและวิจัย       : 3081
  • หลักสูตรปริญญาตรี  : 3080
  • หลักสูตรบัณฑิตศึกษา : 3088
  • ประกันคุณภาพการศึกษา : 3063

คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์

 dean1

ผศ.ดร.ประสิทธิ์  นางทิน

Asst. Prof. Dr. Prasit Nangtin

คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์

                                                                          Dean of the Faculty of Engineering

สายตรงคณบดี
click 2

เลขประจำตัวผู้เสียภาษี

TAX ID : 099-4-0001585-21

833 ถ.พระรามที่ 1 แขวงวังใหม่ 

เขตปทุมวัน   กรุงเทพมหานคร 10330

------------------------------

Pathumwan Institute of Technology.
833 Rama 1 Road, Pathumwan, Bangkok 10330 Thailand.

 

แนะนำ ไฟฟ้า

แนะนำ อุตสาหการ การผลิตฯ เคมี

แนะนำ เครื่องกล-เมคคาฯ

วีดิทัศน์แนะนำสถาบัน

ประชาสัมพันธ์ ข่าวสารทั่วไป

ข่าวสารประชาสัมพันธ์

admin - 18 พฤศจิกายน 2566

รับฟัง ไอเดียดีๆ ชิงเงินรางวัล 900,000 บาท 

Link QR Code ติดต่อ

qr code.webp
        หรือ ติดต่อผ่านเรา โดยตรง  
facebook : คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน
       engineer.pathumwan@gmail.com 

Facebook

ประกาศฯ / ข้อบังคับฯ

สถิติผู้เข้า

  • เนื้อหาที่เปิดอ่าน 21223

คู่มือนักศึกษา

  • ประกาศเรื่องคู่มือสำหรับประชาชน
  • การรับสม้ครศึกษาใหม่
  • การขอย้ายสาขาวิชา
  • การขอลาออก
  • การเทียบโอนผลการเรียน
  • การขอใช้อาคารสถานที่
  • การขอใบรับรองความประพฤติ
  • การขอใช้ห้อง LAP

ปฏิทินกิจกรรม (Google)

ดาวน์โหลดเอกสาร

  • แบบ มคอ.2
  • แบบ มคอ.3
  • แบบ มคอ.5
  • แบบประเมินผลการปฏิบัติงานของข้าราขการ
  • แบบประเมินผลการปฏิบัติงานของ สายวิชาการ
  • แบบประเมินผลการปฏิบัติงานของสายสนับสนุนวิชาการ

ผู้เข้าชม

มี 85 ผู้มาเยือน และ ไม่มีสมาชิกออนไลน์ ออนไลน์

ข่าวคณะวิศวกรรมศาสตร์

บริการวิชาการ คณะวิศวฯ

 ปีงบประมาณ 2567

  • ตรวจประเมินคุณภาพหม้อไอน้ำและการอรุรักษพลังงานในระบบไอน้ำ
  • การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตและการใช้ถ่านชีวภาพจากวัสดุเหลือใช้ฯ
  • การจัดทำมาตรการอนุรักษ์พลังงาน
  • ระบบสมองกลฝังตัวและพื้นฐานอินเตอร์เน็ตทุกสรรพสิ่ง
  • สบู่เหลวสมุนไพร

 

ศึกษาดูงาน อมตะ บีกริม เพาเวอร์ จำกัด

ศึกษาดูงาน บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย

ศึกษาดูงาน บริษัท EEC Automation Park

ศึกษาดูงาน บ.ถิรไทย จำกัด (มหาชน)

งานรับปริญญาประจำปี 2563-2565 ณ สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน (12 ธ.ค.2566)